ความเข้าใจผิดในการออกแบบโลโก้ ที่มีต่อการสร้างแบรนด์

  • จิปาถะ อื่นๆ
  • websitebigbang
  • 0
  • 07 เม.ย. 2563 15:37
  • 171.96.201.***

ออกแบบโลโก้

ได้อ่านหนังสือเกี่ยวกับการสร้างแบรนด์ที่น่าสนใจ ทำให้เปลี่ยนความคิดไปเลยว่า การออกแบบ Logo ให้ตรงกลุ่มเป้าหมายของลูกค้านั้น เป็นเพียงเศษส่วนเล็กๆ ของการสร้างแบรนด์ หนังสือ “จากการตลาด 3.0 สู่การสร้้างแบรนด์ 4.0” มีความน่าสนใจ จึงยกเอาบางส่วนจากหลายร้อยหน้าของหนังสีอเล่มนี้ มาอธิบายความตามด้านล่าง
 

บุคลิกภาพของแบรนด์ส่งผลต่อการดำเนินธุรกิจอย่างไร
โลโก้แต่ละรูปแบบมีลักษณะเฉพาะและส่งผลต่อแบรนด์ในแนวทางที่แตกต่าง ดังนั้นเพื่อให้ได้ทั้งผลลัพธ์ทางธุรกิจและการสร้างแบรนด์ให้มีชีวิต  โดยอาศัยแบบบุคคลจากเจ้าของแบรนด์ หรือบ้านบุคคลที่ต้องการใช้อ้างอิง
 

การออกแบบและวางรากฐานบุคลิกภาพของแบรนด์อย่างถูกต้องจะส่งผลดีอย่างมากต่อการดำเนินธุรกิจ อันดับแรกคือ ทำให้แบรนด์มีชีวิตและสร้างคุณค่าได้อย่างต่อเนื่องและเป็นธรรมชาติซึ่งสอดคล้องกับรูปแบบสังคมยุคดิจิตอล ต่อมาคือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโดยเฉพาะการวางแผน หลักการบริหารให้ผู้เกี่ยวข้องกับแบรนด์ภายในมีความเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อสุดท้ายจะช่วยให้การถ่ายทอดเรื่องราวของการประสบความสำเร็จนำไปสู่การสร้างเครือข่ายคุณค่าร่วมกัน แน่นอนว่าสิ่งที่ยากที่สุดในการบริหารจัดการแบรนด์คือ การตัดสินใจดำเนินการใดๆ บนพื้นฐานของความเป็นแบรนด์ โดยไม่ปล่อยให้แบรนด์ถูกครอบงำโดยความคิดของใครคนหนึ่ง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการแบรนด์มีทั้งปัจจัยที่มาจากภายนอก สภาพอากาศภายใน ยิ่งจำนวนผู้เกี่ยวข้องและมีอิทธิพลต่อแบรนด์มากเท่าไหร่ความซับซ้อนในการบริหารแบรนด์ก็ยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้น ทำให้เสี่ยงต่อการสูญเสียตัวตนและความต่อเนื่องในการสั่งสมคุณค่า
 

การออกแบบและการถ่ายโอนบุคลิกภาพจากแบรนด์บุคคล มาสู่แบรนด์ธุรกิจ องค์กรจะช่วยให้การบริหารมีหลักยึดชัดเจน แล้วทำให้แฟนเป็นศูนย์กลางในการดำเนินการ  ซึ่งจะมีวิธีคิดและวิธีตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆที่แตกต่างกัน

คำถามที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจทางธุรกิจประกอบด้วยตัวเลขหรืออาศัยการวิเคราะห์ค่าทางสถิติในรูปแบบต่างๆ แต่ในความเป็นจริงนั้นมีหลายสถานการณ์ที่ตัวเริ่มไม่อาจให้คำตอบได้ดีที่สุดบุคลิกภาพของแบรนด์จึงเป็นสิ่งที่นำมาช่วยตัดสินใจ เพื่อให้แบรนด์ตัดสินใจบนพื้นฐานของการคิดและการกระทำที่สะท้อนจากตัวตนของแบรนด์ แบรนด์ที่มีบุคลิกภาพเป็นผู้นำย่อมมีวิธีตอบคำถามในรูปแบบหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากวิธีการของ Brand ที่มีบุคลิกภาพเป็นนักสร้างสรรค์
 

การตัดสินใจบนพื้นฐานของบุคลิกภาพจึงไม่ได้วัดกันที่ความถูกต้องของตัวเลขและข้อมูลเพียงอย่างเดียวแต่ว่าการที่ความชัดเจนความต่อเนื่องและความสอดคล้องกับจุดยืนของแบรนด์ที่มีมาโดยตลอดนั่นจึงเป็นการตัดสินใจที่นำไปสู่การเพิ่มคุณค่าให้กับแบรนด์ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับแบรนด์ โดยเฉพาะผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนแบรนด์เรียนรู้แล้วทำความเข้าใจบุคลิกภาพของนานแล้วการขับเคลื่อนแผนการดำเนินไปในทิศทางที่สอดคล้อง และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มันคือเงื่อนไขสำคัญที่ทำให้แบรนด์ประกอบไปด้วยผู้เกี่ยวข้องจำนวนมาก แบรนด์องค์กร และแบรนด์ประเทศ มีความแข็งแรงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของแบรนด์จะส่งผลต่อเนื่องโดยเฉพาะด้านการสื่อสาร เมื่อวานมีชีวิตและอยู่ร่วมกันกับผู้บริโภคในสังคมดิจิตอล การสื่อสารที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพยอมเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำเนินชีวิตและการดำเนินธุรกิจของแบรนด์ ถึงแม้ว่าการสื่อสารจะเป็นเรื่องนามธรรมที่ออกแบบให้ถูกต้อง ร้านต่อเนื่องได้ยาก ตำบลพื้นฐานของการมีชีวิตและความเป็นมนุษย์ผู้บริโภคย่อมรู้สึกและคาดเดาได้ว่า แบรนด์มีบุคลิกภาพแบบนี้ และจะพูดสื่อสารในลักษณะแบบใด
 

นั่งทำให้เห็นว่าแบรนด์ที่มีบุคลิกภาพต่างกันมีแนวโน้มที่จะพูดและแสดงออกในรูปแบบที่แตกต่างกัน แม้ว่าจะพูดในหัวข้อสนทนาเดียวกัน การสื่อสารที่ต่างกันนี้จะส่งผลให้คุณค่าที่มีความเชื่อมโยงระหว่างแบรนด์และผู้บริโภคแตกต่างกัน แต่ไม่ว่าแฟนจะมีบุคลิกภาพแบบใด  ที่ช่วยให้ผู้บริโภครับรู้ แล้วเชื่อมโยงกับแบรนด์ได้ดียิ่งขึ้น จนนำไปสู่การสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีตามลำดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสังคมในยุคดิจิตอลที่การศึกษาเกิดขึ้นแบบเรียลไทม์
 

หากสนใจศึกษาเพิ่มเติมสามารถติดตามหาอ่านได้ที่หนังสือ  “จากการตลาด 3.0 สู่การสร้้างแบรนด์ 4.0” เหมาะสำหรับผู้ประกอบการที่กำลังปลุกปั้นบริษัทอยู่ขณะนี้

 

อ้างอิง
https://www.tcdcconnect.com/bigbang/project/detail/5c19f86293c5e74a1b21cf1c
.
เนื้อหาบทความ: จากการตลาด 3.0 สู่การสร้้างแบรนด์ 4.0
.
ภาพประกอบ: Photo by Stephen Niemeier from Pexels